ไฮไลท์

Highlights

การบริหารจัดการเรือนจำและการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด
20 June 2022

#iCPCJ2022 หัวข้อหลักที่ 6: การบริหารจัดการเรือนจำและการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด เรื่องราวที่น่าฉุกคิดเกี่ยวกับคุกและการใช้โทษจำคุก รวมทั้งเรียนรู้ถึงความก้าวหน้าของการพัฒนามาตรฐานและบรรทัดฐานระหว่างประเทศ ตลอดจนแนวปฏิบัติใหม่ๆ ในเรื่องการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด การใช้มาตรการทางเลือกแทนการจำคุกหรือคุมขัง และผลกระทบเชิงบวกที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการสร้างโอกาสสำหรับผู้ก้าวพลาดในสังคม มาให้ผู้เข้าร่วมอบรมรับฟังและแลกเปลี่ยนมุมมองโดยรับเกียรติจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ร่วมบรรยายในประเด็น: ความสำเร็จและข้อท้าทายของการใช้โทษจำคุก โดยคุณชลธิช ชื่นอุระ,

อ่านต่อ
การเข้าถึงความยุติธรรมสำหรับทุกคน
20 June 2022

#iCPCJ2022 หัวข้อหลักที่ 5: การเข้าถึงความยุติธรรมสำหรับทุกคน iCPCJ นำทุกท่านมาร่วมแลกเปลี่ยนกันว่าเราจะสามารถมีบทบาทช่วยตอบโจทย์ความยุติธรรมของคนในสังคมแต่ละกลุ่มที่มีภูมิหลัง ประสบการณ์ บริบทความต้องการที่เฉพาะ และการช่วยเหลือที่แตกต่างกันได้อย่างไร ความยุติธรรมของแต่ละคนเหมือนหรือต่างกันหรือไม่ และกระบวนการยุติธรรมทางอาญาควรต้องคำนึงถึงอะไรบ้างเพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงความยุติธรรมได้อย่างเสมอภาค หรือมีเครื่องมืออะไรบ้างจากความก้าวหน้าของมาตรฐานและแนวปฏิบัติในระดับระหว่างประเทศ และในประเทศไทย การส่งเสริมกระบวนการยุติธรรมที่เป็นมิตรต่อเด็ก โดยคุณ

อ่านต่อ
ความสำคัญของการมีมาตรฐานและบรรทัดฐานระหว่างประเทศ
20 June 2022

ความสำคัญของการมีมาตรฐานและบรรทัดฐานระหว่างประเทศ คือ การทำให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วมกันของประชาคมระหว่างประเทศ เกี่ยวกับวิธีการวางโครงสร้างของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา หรือวิธีที่สามารถจัดการกับปัญหาบางประการ และสิ่งที่สำคัญคือ การคิดเกี่ยวกับวิธีการที่จะนำไปปฏิบัติใช้ โดยคำนึงถึงบริบทระดับประเทศของประเทศสมาชิก และความแตกต่างในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมด้วย ชวนมาฟัง ความสำคัญของการมีมาตรฐานและบรรทัดฐานระหว่างประเทศในมุมมองคุณ Naoki Sugano, Crime Prevention

อ่านต่อ
iCPCJ2022 เยี่ยมชมการทำงาน ณ สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งนนทบุรี
20 June 2022

iCPCJ2022 ร่วมเลี้ยงอาหารมื้อเย็นและมอบเครื่องอุปโภค บริโภค หนังสือ สิ่งของจำเป็น นอกจากนี้ ยังได้เยี่ยมชมทำงานของเจ้าหน้าที่และการดูแลผู้ใช้บริการของสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งนนทบุรี อีกด้วย ท่านสามารถบริจาคเครื่องอุปโภค บริโภค หรือสิ่งจำเป็นอื่นๆ ได้ที่ สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งนนทบุรี Nonthaburi Home

อ่านต่อ
ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice) และการยุติความรุนแรงต่อผู้หญิงในประเทศไทย
20 June 2022

ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice) หรือ RJ อีกหนึ่งแนวคิดในการส่งเสริมความยุติธรรมทางอาญา เป็นมาตรการทางเลือกที่ไม่ใช่การแทนที่หรือยกเลิกกระบวนการยุติธรรมทางอาญากระแสหลัก แต่เป็นกระบวนการที่มุ่งผลลัพท์ในเชิงสมานฉันท์ เสริมพลังผู้เสียหาย และประสานความเข้าใจระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผ่านการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและหาข้อตกลงร่วมกัน เพื่อให้ได้ทางออกที่ช่วยลดความเสียหาย ทำให้ทุกฝ่ายสามารถอยู่ร่วมกันในชุมชนหรือสังคมได้ (Social Harmony)

อ่านต่อ
แนวคิดใหม่ในการส่งเสริมความยุติธรรมทางอาญา
20 June 2022

#iCPCJ2022 หัวข้อหลักที่ 4: แนวคิดใหม่ในการส่งเสริมความยุติธรรมทางอาญา นอกจากการดำเนินความยุติธรรมผ่านกระบวนการยุติธรรมแบบดั้งเดิม ยังมีแนวคิดเรื่องความยุติธรรมทางเลือก ซึ่งช่วยส่งเสริมการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ในรูปแบบที่แตกต่างไปจากกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก เช่น ความยุติธรรมในชุมชน (community-based justice) ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (restorative justice)

อ่านต่อ
ความท้าทายของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
20 June 2022

เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 #iCPCJ2022 หัวข้อหลักที่ 3: ความท้าทายของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา มุ่งเน้นสำรวจและหารือแนวทางแก้ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ในบริบทของประเทศไทย #iCPCJ ชวนผู้เข้ารับการอบรมร่วมพูดคุยภาพใหญ่เกี่ยวกับปัญหาและความท้าทายสำคัญในการบรรลุเป้าหมายด้านการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญาที่มีประสิทธิภาพ มีความเป็นธรรม และสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนทุกกลุ่ม โดยเฉพาะปัญหาในเชิงโครงสร้าง

อ่านต่อ
มาตรฐานระดับโลก สู่การเปลี่ยนแปลงในสังคม
20 June 2022

มาตรฐานและบรรทัดฐานระหว่างประเทศ (International Standards and Norms) แม้ว่าจะเป็น soft law หรือปฏิญญาทางการเมืองที่ไม่มีผลบังคับใช้ทางกฎหมายโดยตรง แต่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับประเทศสมาชิกในการนำไปใช้อ้างอิง เพื่อปรับกฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ตามบริบทของแต่ละประเทศ สิ่งสำคัญคือ สามารถนำไปสู่การยกร่างกฎหมายที่สำคัญ

อ่านต่อ
TIJ ร่วมกับ UNODC จัดอบรมข้อกำหนดแมนเดลาให้เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์
15 March 2022

ข้อกำหนดแมนเดลามีความสำคัญต่อการบริหารจัดการเรือนจำเป็นอย่างมาก ทั้งในด้านสิทธิมนุษยชนของผู้ต้องขัง การไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง การคุ้มครองสังคมให้ปลอดภัย และลดการกระทำผิดซ้ำ ตลอดจนความปลอดภัยของผู้ต้องขัง เจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการด้านต่าง ๆ ในเรือนจำและผู้เข้าเยี่ยม ดังนั้นข้อกำหนดแมนเดลาจึงเป็นมาตรฐานขั้นต่ำในการรักษามาตรฐานการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง และการบริหารจัดการเรือนจำให้เป็นไปตามบริบทสากล TIJ ซึ่งมีภารกิจหลักในการส่งเสริมการอนุวัติข้อกำหนดและมาตรฐานสากลในประเทศไทย จึงร่วมกับ

อ่านต่อ
ความร่วมมือระหว่างประเทศ ในการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา
02 February 2022

เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 #iCPCJ2022 หัวข้อหลักที่ 2: ความร่วมมือระหว่างประเทศ ในการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา เพื่อให้เห็นภาพของการพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศในการป้องกันอาชญากรรมและความยุติธรรมทางอาญา ผ่านกลไกและเครื่องมือต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกรอบความตกลงระหว่างประเทศ การส่งเสริมและผลักดันประเด็นด้านความยุติธรรมผ่านกลไกสหประชาชาติ (United Nations)

อ่านต่อ